Main page
Total 12 List
สมอง (BRAIN)
◉ สมอง เป็นอวัยวะหลักของระบบประสาทมนุษย์ โดยจัดเป็นระบบประสาทกลางเมื่อรวมกับไขสันหลัง สมองประกอบด้วยสมองใหญ่ ก้านสมอง และสมองน้อย เป็นศูนย์ควบคุมการทำงานของร่างกาย, การแปลผล รวบรวม และประสานข้อมูลที่ได้รับจากประสาทสัมผัส, และการตัดสินใจ
◉ ไต (Kidney)
Kidney ◎ ไต เป็นอวัยวะสำคัญของร่างกาย ทำหน้าที่ช่วยขับของเสียออกจากร่างกายด้วยการผลิตปัสสาวะ ให้มีปริมาณส่วนประกอบและปริมาตรที่เหมาะสม และทำหน้าที่รักษาสมดุลของสารต่าง ๆ ของเหลวและแร่ธาตุต่างๆ ในร่างกาย
ดวงตา (Eye care)
✹ ดวงตาทำงานหนักแค่ไหน ถ้าเรานอนวันละ 6 ชั่วโมง นั่นคือเราจะใช้ดวงตา วันละ 18 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 540 ชั่วโมง ปีละ 6,480 ชั่วโมง ✹ ส่งผลให้ดวงตาอ่อนล้า และมีอนุมูลอิสระสะสม ซึ่งอาจนำไปสู่โรคต้อกระจก และจอประสาทตาเสื่อมได้ อาหารสุขภาพดวงตา, อาการโรคตา
โรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
Osteoarthritis โรคข้อเสื่อม กระดูกสันหลัง กระดูกคอ กระดูกสะโพกเสื่อม หมอนรองกระดูกเสื่อม เข่าเสื่อม กระดูกบาง กระดูกทรุด เป็นความผิดปกติของข้อ เป็นอาการที่กระดูกอ่อน (Cartilage) ในข้อต่อกระดูกเสื่อมสภาพจากปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ
ไขมันเกาะตับ (Fatty Liver)
เมื่อใดก็ตามที่ตับทำงานไม่เป็นปกติ โรคภัยต่างๆ จะมารุมคุณทันที เช่น โรคตับ ไขมันพอกตับ ตับอักเสบ ตับแข็ง และการที่ตับอ่อนแอ จะเกิดอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ภูมิต้านทานต่ำ ขาดโปรตีน บวม เลือดออกง่าย แผลหายช้า น้ำตาลในเลือดสู
โรคกรดไหลย้อน - GERD
โรคกรดไหลย้อน คือ โรคชนิดหนึ่งที่เกิดจากการที่กรดหรือน้ำย่อยจากกระเพาะไหลย้อนกลับขึ้นมาที่หลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการแสบร้อนบริเวณหน้าอก เรอเปรี้ยวบ่อยๆ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย
โรคกระเพาะอาหาร (Stomach disease)
โรคกระเพาะอาหาร เกิดจากการเสียสมดุลของกรดที่หลั่งออกมา มากเกินไปร่วมกับความต้านทานต่อกรดของเยื่อบุกระเพาะอาหาร และลำไส้ลดลง ไปทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร จึงทำให้มีแผลเกิดขึ้น และปัจจุบันพบว่ายังมีปัจจัยเสริมอื่นๆที่ทำให้เกิดโรคได้อีก
สตรีวัยทอง
สตรีวัยทอง หรือสตรีวัยหมดประจำเดือน (Menopause) หรือวัยหมดระดู คือการที่มีการขาดหายไปของระดู เกิดขึ้นติดต่อกัน 12 เดือน หมายถึง สตรีในวัย 40 – 59 ปี ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลงเนื่องจากรังไข่หยุดทำงาน หยุดสร้างฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอร์โรน
ไขมันในเลือดสูง
ความผิดปกติของ lipoprotein metabolism เป็นผลให้ระดับไขมันในเลือดเปลี่ยนแปลงไปจนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis)
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เมื่อหัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย การเคลื่อนที่ของเลือดภายในหลอดเลือดจะส่งแรงกระทำต่อผนังหลอดเลือด ทำให้เกิดความดันภายในหลอดเลือด เราเรียกความดันนั้นว่า ความดันโลหิต
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus)
ความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิซึมในร่างกาย ซึ่งส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
เกี่ยวกับหัวใจ
หัวใจ เป็นอวัยวะกล้ามเนื้อซึ่งสูบเลือดทั่วหลอดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หัวใจมนุษย์ปกติเต้น 72 ครั้งต่อนาที สูบเลือดประมาณ 4.7-5.7 ลิตรต่อนาที
©2019 Copyright: Healthygiftsforlife.com